ศิลาจารึกหลักที่1

วรรณคดีที่ปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

วรรณคดีที่ปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีอยู่ดังนี้
๑.โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์
พระนิพนธ์ใน พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ใช้คำประพันธ์ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ
เพื่อบันทึกเรื่องราว
๒.โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย
ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าอภัย
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ มีเพียง ๒๕ บท
เพื่อพรรณนาความรู้สึกที่ต้องจากนางที่รัก และบันทึกการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
๓.นันโทปนันทสูตรคำหลวง
ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทร่ายยาว
เพื่อสอนศาสนาพุทธ
๔.พระมาลัยคำหลวง
ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทร่าย มีโคลงสี่สุภาพในตอนท้าย
เพื่อสอนศาสนาพุทธและเมื่อพบพระศรีอาริยเมตไตรย
๕.กาพย์เห่เรือ  กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก  กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงประพันธ์โดย เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง ยกเว้นกาพย์เห่เรือใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกาพย์
เห่เรือกาพย์เห่เรือ เพื่อใช้เห่เรือในการเสด็จประพาสพระพุทธบาท ของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก เพื่อพรรณนาถึงนางในนิราศ
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเพื่อพรรณนาธรรมชาติในการเดินทางจากอยุธยา ไปยังพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี
 ๖.เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนเพลง
เพื่อแสดงความรัก แสดงโวหารต่างๆ
๗.บทละครเรื่องดาหลังและอิเหนา (อิเหนาใหญ่และอิเหนาเล็ก)
อิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) เจ้าฟ้าหญิงกุณฑล
อิเหนาเล็ก    เจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนบทละคร
เพื่อใช้เล่นละคร
๘.ปุณโณวาทคำฉันท์
ประพันธ์โดย พระมหานาค วัดท่าทราย
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทคำฉันท์
เพื่อบันทึกการสมโภชพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี
๙.โคลงนิราศพระพุทธบาท
ประพันธ์โดย พระมหานาค วัดท่าทราย
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ
เพื่อบันทึกการเดินทาง
๑๐.กลบทศิริบุลกิตติ
ประพันธ์โดย หลวงศรีปรีชา (เซ่ง)
ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนกลบท (๘๖ ชนิด)
เพื่อเล่านิทานชาดก และเพื่อเป็นอานิสงส์ให้สำเร็จเป็นพะรอรหันต์

วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนกลาง

วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา
วรรณคดีสมัยนี้สะท้อนภาพกรุงศรีอยุธยา ปรากฏให้เห็นความเจริญของบ้านเมืองในอดีต และความสุขสงบของชาวเมืองและความรุ่งเรืองของงานกวีจะมีไม่มากนัก วรรณคดีอยุธยามีปรากฏเพียงบางยุคสมัยคือ
๑. สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒
๒. สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๓๑)
๓. สมัยพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๕๓ – ๒๑๗๑
๔. สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.๒๑๙๙ – ๒๒๓๑)
๕. สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑)
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็น ๓ ช่วงสมัยคือ
๑. สมัยอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงสมัยพระรามาธิบดี
ที่ ๒ (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๐๗๒)
๒. สมัยอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรมถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(พ.ศ. ๒๑๖๓ – ๒๒๓๑)
๓. สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศถึงสมัยพระเจ้าเอกทัศน์
(พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๑๐)
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้น
วรรณคดีที่ใช้เพื่อความมั่นคงของประเทศชาติ
ลิลิตโองการแช่งน้า เป็นวรรณคดีเรื่องแรกในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เนื่องจาก
เหตุการณ์บ้านเมืองไม่สงบเรียบร้อย จึงให้เสนาข้าราชการเข้าพิธีสาบานตนในพระราชพิธีศรีสัจจปานกาล
ซึ่งได้ทาติดต่อกันมานาน แต่เลิกพิธีนี้ไปเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น
ระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้แต่งเป็นใครและแต่งสมัยใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด
ลิลิตโองการแช่งน้าเป็นวรรณกรรมการเมืองที่ใช้ในการปกครองบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ้านเมืองที่เพิ่งสถาปนา เพื่อให้ข้าราชบริพารและข้าราชการเกิดความเกรงกลัว ไม่กล้าคิดทรยศต่อผู้ปกครองแผ่นดินในสมัยนั้น ในพิธีนี้พวกพราหมณ์และพวกพระ จะช่วยกันสาปแช่งน้าสาบานด้วยถ้อยคาและข้อความที่พิลึกพิลั่นน่ากลัว ใครไม่ซื่อสัตย์ต่อเจ้าชีวิต จะต้องมีอันเป็นไปต่างๆ เวลาสาปแช่งน้าสาบานนั้น พราหมณ์จะต้องเอาพระแสงศร ซึ่งมีสามเล่มเท่ากับพระรามมี และมีชื่อเหมือนชื่อศรของพระราม แทงลงไปในหม้อน้าสาบาน เพื่อให้น้านั้นศักดิ์สิทธิ์ มีพิษบาดไส้บาดคอผู้ที่คิดทรยศต่อพระเจ้าแผ่นดิน
วรรณคดีที่ใช้เพื่อความบันเทิง
ลิลิตพระลอ เป็นยอดวรรณคดีประเภทลิลิต เข้าใจกันว่าเป็นเรื่องจริงที่เล่ากันเรื่อยมา ของท้องถิ่นไทยภาคเหนือ สถานที่ในเรื่องคือแถวๆ จังหวัดแพร่และลาปาง เมืองสรองสันนิษฐานว่าคงจะอยู่ที่
อาเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ส่วนเมืองสรวงน่าจะอยู่ที่อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง นิยายเรื่องจริงเรื่องนี้น่าจะเกิดในช่วง พ.ศ. ๑๖๑๖ – ๑๖๙๓ จะแต่งในสมัยพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (พระเชษฐา) หรือในสมเด็จพระนารายณ์ก็ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่คงจะเป็นกวีชั้นนักปราชญ์ ส่วนทานองแต่ง แต่งเป็นลิลิตสุภาพ ซึ่งประกอบด้วยร่ายสุภาพ และโคลงสุภาพ
ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมการเมืองในรูปเพื่อความบันเทิงแห่งเจ้าขุนมูลนาย มีผู้คนแสดงความคิดเห็นมากมายเกี่ยวกับผู้แต่งและระยะเวลาในแต่ง แต่ยังหาข้อยุติไม่ได้ ลักษณะการแต่งเป็นลิลิตสุภาพ ประกอบด้วย ร่ายสุภาพและโคลงสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ บางร่ายเป็นร่ายโบราณและร่ายดั้น ความมุ่งหมายในการแต่ง แต่ถวายพระมหากษัตริย์ เพื่อให้เป็นที่สาราญพระราชหฤทัย เนื้อเรื่องเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรัก ความหลง ถึงกับยอมทาทุกอย่างเพื่อให้สมประสงค์ในด้านความรัก นอกจากนี้ยังแสดงถึงความรักอันลึกซึ้งของแม่ที่มีต่อลูก ถึงยอมสละทุกอย่าง เพื่อความสุขของลูก แสดงถึงความรักระหว่างเจ้ากับข้า ถึงกับยอมสละชีวิตเป็นราชพลีด้วยความเต็มใจ อย่างไรก็ตามแม้ลิลิตพระลอจะเป็นวรรณกรรมการเมืองเพื่อความบันเทิงแห่งเจ้าขุนมูลนาย คุณค่าของลิลิตพระลอก็มีอยู่มากมาย ดังเช่น
๑. การกล่าวเรื่องบาปบุญ ตอนพระลอตรัสแก่นางบุญเหลือ ดังโคลงที่ว่า
ตามแต่บาปบุญแล้ ก่อเกื้อรักษา
๒. การกล่าวถึงพระคุณของแม่ ดังโคลงที่ว่า
ร้อยชู้ฤาเท่าเนื้อ เมียตน
เมียแล่พันฤาดล แม่ได้
ทรงครรภ์รอดเป็นคน ฤาง่าย เลยนา
เลี้ยงยากนักท้าวไท้ ธิราชผู้มีคุณ
๓. การกล่าวถึงเรื่อง กรรม ซึ่งนางบุญเหลือกล่าวแก่พระลอ ดังโคลงที่ว่า
ถึงกรรมจักอยู่ได้ ฉันใด พระเอย
กรรมบ่มีใคร ฆ่าข้า
กุศลส่งสนองไป ถึงพี่ สุขนา
บาปส่งจาตกช้า ช่วยได้ฉันใด
๔. นายแก้วนายขวัญกราบทูลพระลอ ดังโคลงที่ว่า
พระเอยอาบน้าอุ่น เอาเย็น
ปลาผอกหมกเหม็นยาม อยากเคี้ยว
รุกรุยราดจาเป็น ปางเมื่อ แคลนนา
อดอยู่เดี่ยวคิ้วเคี้ยว อยู่ได้ฉันใด
วรรณคดีสโมสรได้ประกาศยยกย่องให้ลิลิตพระลอ เป็นยอดของกลอนลิลิตเป็นแบบอย่างในการเขียนสมัยต่อมาของวรรณคดีต่างๆเช่น เมื่อพระโหราธิบดีแต่ง “จินดามณี”ยังยกโคลงในลิลิตพระลอมาเป็นโคลงครู ว่า
เสียงฦาเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตืน ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
๕. บทชมโฉมพระเพื่อนพระแพง กล่าวไว้อย่างไพเราะ ดังโคลงที่ว่า
โฉมสองเหมือนหยาดฟ้า ลงดิน
งามเงื่อนอัปสรอินทร์ สู่หล้า
อย่าคิดอย่าควรถวิล ถึงยาก แลนา
ชมยะแย้มทั่วหน้า หน่อท้าวมีบุญ
ลิลิตพระลอจะกล่าวถึงเรื่องหลักจริยธรรมของพระมหากษัตริย์ ในการปกครองไพร่ฟ้าแผ่นดินชัดเจนมาก เริ่มตั้งแต่ก่อนที่จะออกจากเมืองสอง พระราชมารดา พระนามว่าบุญเหลือทรงสั่งสอนพระลอให้ตระหนักถึงจริยธรรม 7 ประการของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า จารีต 7 ประการ คือ
1. อย่าลืมตัว ห้ามคบคนไม่ดี คิดอะไรให้รอบคอบก่อนค่อยทา เขาบอกว่าคิดทุกคา จึงออกปาก หมายความว่า จะพูดอะไรคิดเสียก่อน อย่าให้ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินลาบากใจ ว่าเรื่องการบ้านเมืองให้เที่ยงตรง หมายความว่า ไม่เห็นกับหน้าผู้ใด ยุติธรรม ปกครองประเทศให้ร่มเย็น ดับเข็ญนอกเข็ญใน คือ อะไรที่เป็นความลาบากทั้งภายในภายนอกให้ขจัดให้หมด
2. ส่งใจดูทุกกรม อย่าชมตามคาเท็จ คือให้สอดส่องการบริหารงานทั่งทุกหน่วยงาน อย่าเชื่อตามคาทูลเท็จของใคร ต้องให้เห็นกับตา อย่าทาให้ผิดทางธรรม ทาอะไรให้มันถูกต้อง
3. เวลาที่จะต้องใช้อานาจหรือพระเดชในการบัญชา ก็ต้องใช้ให้เหมาะสม จงทาให้มีเล่ห์เหลี่ยมที่เหมาะสม
4. ดูคนรับใช้ที่ให้มาทางานกับเราดีๆ สอดส่องดูให้เหมาะสม เลือกหาคนที่ซื่อสัตย์ พยายามปลุกใจคนให้ตื่นตัว ให้กล้าหาญกล้าต่อสู้กับศัตรูที่จะมากินเมือง ให้ตายไป ให้อานาจศักดิ์สิทธิ์แก่ราษฎร ตัดความชั่วอย่าให้มันลุกลาม
5. อย่าชิงสุกก่อนห่าม อย่าล่ามม้าสองฝั่ง จะทาอะไรก็อย่ารีบทาโดยไม่คิดเพราะก่อผลเสีย อย่าล่ามม้าสองปาก คืออย่ากดหัวพลเมืองให้โงหัวไม่ขึ้น อย่าใช้อานาจที่ไม่เป็นธรรมแก่ราษฎร อย่ารากผิดไว้ข้างหลัง คือ อะไรที่ผิดอย่าทิ้งไว้ข้างหลัง ให้จัดการให้เรียบร้อย แก้ไข อย่าทาตนให้คนเกลียด จงทาตนให้คนรัก
6. ชักชวนคนสู่ฟ้า คือนาคนให้ประพฤติแต่สิ่งที่ดีที่ชอบที่เหมาะที่ควร นาคนให้ไป ข้างหน้าให้มีความเจริญก้าวหน้า ให้เทวดาสรรเสริญเยินยอ คือนาประชาชนให้ทาดี ไปภพหน้าแม้แต่เทพเทวดาก็ยังต้องสรรเสริญเยินยอ ทาในส่งที่โลกยกย่อง
ลิลิตพระลอในด้านการปกครอง จะเห็นว่าการปกครองในสมัยนั้นต่างเมืองต่างเป็นอิสระ เป็นใหญ่ ไม่ขึ้นแก่กัน ลิลิตพระลอในด้านประวัติศาสตร์ ลิลิตพระลอได้ให้ความรู้ในทางประวัติศาสตร์ของไทยได้ ในแง่มุมต่าง ๆ โดยเฉพาะทาให้รู้เรื่องราวความเป็นมาของเมืองสรวงและเมืองสรองอันได้แก่ ลาปางและแพร่
ลิลิตพระลอในด้านวิถีชีวิต ได้มองเห็นถึงความเป็นอยู่ของคนไทยสมัยนั้นที่ยังเชื่อในเรื่อง
ไสยศาสตร์อยู่มากมีการนับถือผีสางนางไม้ แม้ในปัจจุบันก็ยังมีอยู่
วรรณคดีเพื่อยกย่องสดุดีพระมหากษัตริย์
วรรณคดีที่สดุดีวีรบุรุษส่วนใหญ่เป็นผลงานของกวีที่เป็นข้าราชบริพารในพระมหาราชวังหรือกวีศักดินา แต่งขึ้นเพื่อแสดงความชื่นชมในบุญบารมีของพระมหากษัตริย์ ยกย่องและสดุดีพระมหากษัตริย์เป็นประดุจเจ้าชีวิตหรือสมมุติเทพ แสดงความชื่นชมในความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เป็นการประกาศถึงเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ให้แพร่หลายในหมู่ประชาชนทั่วไปในขณะเดียวกันก็มีจุดมุ่งหมายทางการเมืองแอบแฝงอยู่ โดยส่วนรวมก็เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง ตามแนวปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
“ลิลิตยวนพ่าย” ลักษณะการแต่งเป็นลิลิตดั้น ประกอบด้วยร่าย 2 บท เป็นร่ายดั้น 1 บท ร่ายสุภาพ 1 บท สลับโคลงสี่ดั้น บาทกุญชร 296 บท ความมุ่งหมายในการแต่งเพื่อยอพระเกียรติกษัตริย์และสดุดีชัยชนะที่มีต่อโยนก เนื้อเรื่องกล่าวสรรเสริญและยอพระเกียรติกษัตริย์พระบรมไตรโลกนารถ เล่าพระราชประวัติตั้งแต่ประสูติการศึกษาสงคราม พระราชกรณียกิจทางศาสนา เช่น การออกผนวช 1 พรรษา การนิมนต์พระสงฆ์จากลังกา การตีชนะเมืองเชียงใหม่ และยอพระเกียรติพระบรมไตรโลกนาถอีกครั้ง
วรรณคดีเรื่องลิลิตยวนพ่าย ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่า ผู้แต่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทั้งในด้านภาษาและขนบธรรมเนียมราชการและคงเป็นกวีสาคัญในยุคนั้น ผู้แต่งได้อธิษฐานในโคลงที่ไพเราะเพราะพริ้งว่า
สารสยามภาคพร้อง กลกานท์ นี้ฤา
คือ คู่มาลาสรรค์ ช่อช้อย
เบญญาพิศาลแสดง เดอมเกียรติ พระฤา
คือ คู่ไหนแสร้งร้อย กึ่งกลาง
การกล่าวยอพระเกียรติกษัตริย์พระบรมไตรโลกนารถ ในโคลงที่ว่า
พระคุณพระคลองฟ้า ดินขาม
พระเกียรติพระไกรแผน ผ่านฟ้า
พระฤทธิ์พ่างพระราม รอนราพณ์ ไส้แฮ
พระก่อพระเกื้อหล้า หลากสรรค์
ลิลิตยวนพ่าย กล่าวได้ว่า เป็นวรรณคดียอพระเกียรติเรื่องแรกของไทยที่เพียบพร้อมไปด้วยความงามของฉันทลักษณ์ โคลงที่ไพเราะ ในด้านความรู้ ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประยุกต์ที่ผู้แต่งมุ่งให้ความรู้แก่ผู้อ่านโดยตรง เช่น ความรู้ด้านธรรมะ ด้านการรบ ด้านการปกครอง ด้านประวัติศาสตร์ เป็นต้น
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอนประชาชน
ในสมัยอยุธยาตอนกลางนี้มีโคลงอยู่สามเรื่องที่เป็นการสอนจริยธรรมให้กับสังคมไทย ซึ่งเป็นโคลงภาษิตที่มีหลักจริยธรรมเพื่อใช้สั่งสอน คือ
๑. โคลงพาลีสอนน้อง
๒. โคลงทศรถสอนพระราม
๓. โคลงราชสวัสดิ์
โคลงทั้งสามบทนี้เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จุดมุ่งหมายในการ
ทรงพระราชนิพนธ์ของพระองค์เพื่อสั่งสอนประชาชน หรือบุคคลใดก็ตามที่จะเข้ารับราชการในราชสานักของพระองค์ ให้ได้ทราบถึงหลักจริยธรรมที่ควรประพฤติปฏิบัติในการเป็นข้าราชการที่ดี แต่โคลงทศรถสอนพระรามนั้นเน้นเป็นพิเศษตรงที่ว่าเน้นเรื่องหลักในการครองเมือง เพราะท้าวทศรถสอนพระรามซึ่งเป็นลูกของพระองค์ให้ทรงทราบหลักในการครองเมือง, หลักของพระมหากษัตริย์
โคลงพาลีสอนน้อง
โคลงพาลีสอนน้อง ทานองแต่ง ใช้โคลงสี่สุภาพ มีโคลงทั้งหมด ๓๒ บท ความมุ่งหมาย เพื่อใช้เรื่องรามเกียรติ์เปรียบเทียบในการอบรมสั่งสอนข้าราชการ เช่น สอนการเข้าเฝ้าเมื่อรับราชการ การสอนไม่ให้ยักยอกของหลวง การสอนไม่ให้ทาชู้กับนางใน เป็นต้น
โคลงทศรถสอนพระราม
โคลงทศรถสอนพระราม ทานองแต่งเป็นโคลงสี่สุภาพมี ๑๒ บท ความมุ่งหมายในการแต่งเพื่อ เป็นพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่รัชทายาท และกล่าวถึงพระราชจริยวัตรของกษัตริย์ เช่น สอนให้มีความเมตตา ความยุติธรรม การให้ทาน การบาเหน็จความชอบ สอนไม่ให้เบียดเบียนราษฎร มีความอดทน
โคลงราชสวัสดิ์
โคลงราชสวัสดิ์ ทานองแต่ง เป็นโคลงสี่สุภาพ มีทั้งหมด ๖๓ บท ความมุ่งหมาย เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติตนของข้าราชการผู้ใหญ่ เช่น การสารวมกิริยามารยาท
วรรณคดีที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เป็นบทร้อยกรองประเภทเพลงยาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพยากรณ์สถานการณ์ของประเทศไทยในอนาคตว่าจะประสบวิบัติภัยนานา โดยคาดว่าประพันธ์ขึ้นราวสมัยรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนผู้ประพันธ์ยังไม่อาจระบุได้แน่ชัด
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยาแต่งขึ้นเลียนแบบมหาสุบินชาดก และนิทาน “พยาปัถเวน (ปเสนทิโกศล) ทานายฝัน” ชาดกและนิทานดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระสุบินนิมิตสิบหกประการของประการของพระเจ้าปเสนทิโกศลที่ได้ทูลถามคาพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า
ผู้แต่งจะต้องเป็นบุคคลที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง มีความสามารถในทางโหราศาสตร์หรือทางจิตวิทยาและเป็นนักประพันธ์นามาผนวกกับเรื่องราวของพุทธทานายดังกล่าวข้างต้น เพลงยาวกรุงศรีอยุธยา นี้ใช้เป็นจุดประสงค์ในทางการเมือง คือ เป็นการทานายชะตาบ้านเมืองไปในทางเลวร้ายถือเป็นเรื่องคอขาดบาดตายและเป็นการอัปมงคล ซึ่งหากเป็นการแต่งโดยบุคคลธรรมดาก็อาจจะถูกลงโทษสถานหนัก ดังนั้นผู้ที่สามารถทานายกล่าวอ้างออกมาได้และทาให้ผู้คนยอมรับและจดจากันได้นั้น ก็ย่อมต้องเป็นบุคคลที่มีความสาคัญระดับพระมหากษัตริย์ หรือบุคคลที่พระมหากษัตริย์ให้การยอมรับนับถือ
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอน
นันโทปนันทสูตรคาหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์
(เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคาประพันธ์เป็นร่ายยาว นาด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ
จุดมุ่งหมายของวรรณคดีเล่มนี้ ก็เพื่อเผยแผ่คาสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนาเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร
เรื่องย่อมีอยู่ว่า ครั้งนั้น พระพุทธองค์ทรงมีพุทธบัญชาให้พระมหาโมคคัลลานะเถระ ไปปราบพญานาค อันมีนาม นันโทปนันทะ ให้คลายทิฏฐิมานะลง เมื่อพญานันโทปนันทะคลายทิฏฐิมานะลง ได้แปลงร่างเป็นมาณพหนุ่ม ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าและได้รับศีล ๕ จากพระพุทธองค์ แต่ด้วยความที่ตนยังอยู่ในภูมิของกึ่งเทพกึ่งเดรัจฉาน จึงยังมิอาจยังให้เกิดการบรรลุธรรมได้ แต่ก็ยอมรับนับถือพระพุทธองค์ไปตลอดชีวิต แสดงให้เห็นสุภาษิตว่า ควรชนะคนไม่ดีด้วยความดี คือ เราควรสอนให้คนพาลกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดี มีดวงตาเห็นธรรม คือ อริยสัจ เข้าสู่ความหลุดพ้น สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนปลาย
วรรณคดีที่ใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม
พระมาลัยค้าหลวง เป็นวรรณคดีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ทรงพระนิพนธ์โดย
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ เมื่อปี พ.ศ. 2280 ทานองเช่นเดียวกับกาพย์มหาชาติ กล่าว คือ แต่งด้วยร่ายสุภาพ บางแห่งมีลักษณะคล้ายกาพย์ยานีปนอยู่บ้าง แต่เดิมนั้นพระมาลัยคาหลวงใช้สวดในงานมงคลสมรส ต่อมาเปลี่ยนไปใช้สวดเฉพาะงานศพหรือสวดหน้าศพ
พระมาลัยคาหลวง มีทานองแต่งคล้ายกาพย์มหาชาติ คือ จะมีการแทรกบทบาลีน้อยกว่านันโทปนันทสูตรคาหลวง ใช้ถ้อยคาสานวนง่าย ราบเรียบชัดเจนกว่านันโทปนันทสูตรคาหลวง เรื่องพระมาลัยเป็นที่ติดใจแพร่หลายมาช้านาน เช่น นาไปสวดในงานแต่งงานและงานศพ วาดภาพไว้ตามวัดและหล่อรูปพระมาลัยไว้ก็มี เนื้อเรื่องพระมาลัยดีเป็นที่นิยมกันแพร่หลาย ประกอบกับเชิงชั้นการบรรยายและใช้ถ้อยคาอันสูงส่งของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์หนังสือพระมาลัยคาหลวงจึงถือเป็นวรรณคดีขั้นมาตรฐานได้เรื่องหนึ่ง
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอน
นันโทปนันทสูตรค้าหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคาประพันธ์เป็นร่ายยาว นาด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ
จุดมุ่งหมายของวรรณคดีเล่มนี้ ก็เพื่อเผยแผ่คาสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนาเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร
เรื่องย่อมีอยู่ว่า ครั้งนั้น พระพุทธองค์ทรงมีพุทธบัญชาให้พระมหาโมคคัลลานะเถระ ไปปราบพญานาค อันมีนาม นันโทปนันทะ ให้คลายทิฏฐิมานะลง เมื่อพญานันโทปนันทะคลายทิฏฐิมานะลง ได้แปลงร่างเป็นมาณพหนุ่ม ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าและได้รับศีล ๕ จากพระพุทธองค์ แต่ด้วยความที่ตนยังอยู่ในภูมิของกึ่งเทพกึ่งเดรัจฉาน จึงยังมิอาจยังให้เกิดการบรรลุธรรมได้ แต่ก็ยอมรับนับถือพระพุทธองค์ไปตลอดชีวิต แสดงให้เห็นสุภาษิตว่า ควรชนะคนไม่ดีด้วยความดี คือ เราควรสอนให้คนพาลกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดี มีดวงตาเห็นธรรม คือ อริยสัจ เข้าสู่ความหลุดพ้น สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้
วรรณคดีที่ใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม
กาพย์เห่เรือ เป็นคาประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สาหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทานองเห่ที่สอดคล้องกับจังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจาเรือแต่ละลา
กาพย์เห่เรือนั้น ใช้คาประพันธ์ 2 ชนิดด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมักขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไป จนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ ก็จะยกโคลงสี่สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป
กาพย์เห่เรือที่เก่าแก่ที่สุด ที่พบในเวลานี้ คือ กาพย์เห่เรือในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยอยุธยาตอนปลาย ทรงแต่งไว้ 2 เรื่อง คือบทเห่ชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก มีลักษณะเป็นเหมือนนิราศ กับอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องกากี สันนิษฐานกันว่ากาพย์เห่เรือ เดิมคงจะแต่งเพื่อขับเห่กันเมื่อเดินทางไกลในแม่น้าลาคลอง แต่ในภายหลังคงมีแต่เจ้านายหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง และสุดท้ายมีใช้แต่ในกระบวนเรือของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น กาพย์เห่เรือไม่นิยมประพันธ์กันมากนัก เนื่องจากถือเป็นคาประพันธ์สาหรับใช้ในพิธีการ คือ ในกระบวนเรือหลวง หรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค ไม่นิยมใช้ในพิธีหรือสถานการณ์อื่นใด การแต่งกาพย์เห่เรือจึงมักแต่งขึ้นสาหรับที่จะใช้เห่เรือจริงๆ ซึ่งในแต่ละรัชกาล มีการเห่เรือเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น
วรรณคดีสมัยนี้สะท้อนภาพกรุงศรีอยุธยา ปรากฏให้เห็นความเจริญของบ้านเมืองในอดีต และความสุขสงบของชาวเมืองและความรุ่งเรืองของงานกวีจะมีไม่มากนัก วรรณคดีอยุธยามีปรากฏเพียงบางยุคสมัยคือ
๑. สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๑๒
๒. สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๓๑)
๓. สมัยพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๕๓ – ๒๑๗๑
๔. สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.๒๑๙๙ – ๒๒๓๑)
๕. สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑)
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็น ๓ ช่วงสมัยคือ
๑. สมัยอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงสมัยพระรามาธิบดี
ที่ ๒ (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๐๗๒)
๒. สมัยอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรมถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(พ.ศ. ๒๑๖๓ – ๒๒๓๑)
๓. สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศถึงสมัยพระเจ้าเอกทัศน์
(พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๑๐)
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้น
วรรณคดีที่ใช้เพื่อความมั่นคงของประเทศชาติ
ลิลิตโองการแช่งน้า เป็นวรรณคดีเรื่องแรกในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เนื่องจาก
เหตุการณ์บ้านเมืองไม่สงบเรียบร้อย จึงให้เสนาข้าราชการเข้าพิธีสาบานตนในพระราชพิธีศรีสัจจปานกาล
ซึ่งได้ทาติดต่อกันมานาน แต่เลิกพิธีนี้ไปเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น
ระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้แต่งเป็นใครและแต่งสมัยใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด
ลิลิตโองการแช่งน้าเป็นวรรณกรรมการเมืองที่ใช้ในการปกครองบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ้านเมืองที่เพิ่งสถาปนา เพื่อให้ข้าราชบริพารและข้าราชการเกิดความเกรงกลัว ไม่กล้าคิดทรยศต่อผู้ปกครองแผ่นดินในสมัยนั้น ในพิธีนี้พวกพราหมณ์และพวกพระ จะช่วยกันสาปแช่งน้าสาบานด้วยถ้อยคาและข้อความที่พิลึกพิลั่นน่ากลัว ใครไม่ซื่อสัตย์ต่อเจ้าชีวิต จะต้องมีอันเป็นไปต่างๆ เวลาสาปแช่งน้าสาบานนั้น พราหมณ์จะต้องเอาพระแสงศร ซึ่งมีสามเล่มเท่ากับพระรามมี และมีชื่อเหมือนชื่อศรของพระราม แทงลงไปในหม้อน้าสาบาน เพื่อให้น้านั้นศักดิ์สิทธิ์ มีพิษบาดไส้บาดคอผู้ที่คิดทรยศต่อพระเจ้าแผ่นดิน
วรรณคดีที่ใช้เพื่อความบันเทิง
ลิลิตพระลอ เป็นยอดวรรณคดีประเภทลิลิต เข้าใจกันว่าเป็นเรื่องจริงที่เล่ากันเรื่อยมา ของท้องถิ่นไทยภาคเหนือ สถานที่ในเรื่องคือแถวๆ จังหวัดแพร่และลาปาง เมืองสรองสันนิษฐานว่าคงจะอยู่ที่
อาเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ส่วนเมืองสรวงน่าจะอยู่ที่อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง นิยายเรื่องจริงเรื่องนี้น่าจะเกิดในช่วง พ.ศ. ๑๖๑๖ – ๑๖๙๓ จะแต่งในสมัยพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (พระเชษฐา) หรือในสมเด็จพระนารายณ์ก็ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่คงจะเป็นกวีชั้นนักปราชญ์ ส่วนทานองแต่ง แต่งเป็นลิลิตสุภาพ ซึ่งประกอบด้วยร่ายสุภาพ และโคลงสุภาพ
ลิลิตพระลอ เป็นวรรณกรรมการเมืองในรูปเพื่อความบันเทิงแห่งเจ้าขุนมูลนาย มีผู้คนแสดงความคิดเห็นมากมายเกี่ยวกับผู้แต่งและระยะเวลาในแต่ง แต่ยังหาข้อยุติไม่ได้ ลักษณะการแต่งเป็นลิลิตสุภาพ ประกอบด้วย ร่ายสุภาพและโคลงสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ บางร่ายเป็นร่ายโบราณและร่ายดั้น ความมุ่งหมายในการแต่ง แต่ถวายพระมหากษัตริย์ เพื่อให้เป็นที่สาราญพระราชหฤทัย เนื้อเรื่องเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรัก ความหลง ถึงกับยอมทาทุกอย่างเพื่อให้สมประสงค์ในด้านความรัก นอกจากนี้ยังแสดงถึงความรักอันลึกซึ้งของแม่ที่มีต่อลูก ถึงยอมสละทุกอย่าง เพื่อความสุขของลูก แสดงถึงความรักระหว่างเจ้ากับข้า ถึงกับยอมสละชีวิตเป็นราชพลีด้วยความเต็มใจ อย่างไรก็ตามแม้ลิลิตพระลอจะเป็นวรรณกรรมการเมืองเพื่อความบันเทิงแห่งเจ้าขุนมูลนาย คุณค่าของลิลิตพระลอก็มีอยู่มากมาย ดังเช่น
๑. การกล่าวเรื่องบาปบุญ ตอนพระลอตรัสแก่นางบุญเหลือ ดังโคลงที่ว่า
ตามแต่บาปบุญแล้ ก่อเกื้อรักษา
๒. การกล่าวถึงพระคุณของแม่ ดังโคลงที่ว่า
ร้อยชู้ฤาเท่าเนื้อ เมียตน
เมียแล่พันฤาดล แม่ได้
ทรงครรภ์รอดเป็นคน ฤาง่าย เลยนา
เลี้ยงยากนักท้าวไท้ ธิราชผู้มีคุณ
๓. การกล่าวถึงเรื่อง กรรม ซึ่งนางบุญเหลือกล่าวแก่พระลอ ดังโคลงที่ว่า
ถึงกรรมจักอยู่ได้ ฉันใด พระเอย
กรรมบ่มีใคร ฆ่าข้า
กุศลส่งสนองไป ถึงพี่ สุขนา
บาปส่งจาตกช้า ช่วยได้ฉันใด
๔. นายแก้วนายขวัญกราบทูลพระลอ ดังโคลงที่ว่า
พระเอยอาบน้าอุ่น เอาเย็น
ปลาผอกหมกเหม็นยาม อยากเคี้ยว
รุกรุยราดจาเป็น ปางเมื่อ แคลนนา
อดอยู่เดี่ยวคิ้วเคี้ยว อยู่ได้ฉันใด
วรรณคดีสโมสรได้ประกาศยยกย่องให้ลิลิตพระลอ เป็นยอดของกลอนลิลิตเป็นแบบอย่างในการเขียนสมัยต่อมาของวรรณคดีต่างๆเช่น เมื่อพระโหราธิบดีแต่ง “จินดามณี”ยังยกโคลงในลิลิตพระลอมาเป็นโคลงครู ว่า
เสียงฦาเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตืน ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
๕. บทชมโฉมพระเพื่อนพระแพง กล่าวไว้อย่างไพเราะ ดังโคลงที่ว่า
โฉมสองเหมือนหยาดฟ้า ลงดิน
งามเงื่อนอัปสรอินทร์ สู่หล้า
อย่าคิดอย่าควรถวิล ถึงยาก แลนา
ชมยะแย้มทั่วหน้า หน่อท้าวมีบุญ
ลิลิตพระลอจะกล่าวถึงเรื่องหลักจริยธรรมของพระมหากษัตริย์ ในการปกครองไพร่ฟ้าแผ่นดินชัดเจนมาก เริ่มตั้งแต่ก่อนที่จะออกจากเมืองสอง พระราชมารดา พระนามว่าบุญเหลือทรงสั่งสอนพระลอให้ตระหนักถึงจริยธรรม 7 ประการของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า จารีต 7 ประการ คือ
1. อย่าลืมตัว ห้ามคบคนไม่ดี คิดอะไรให้รอบคอบก่อนค่อยทา เขาบอกว่าคิดทุกคา จึงออกปาก หมายความว่า จะพูดอะไรคิดเสียก่อน อย่าให้ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินลาบากใจ ว่าเรื่องการบ้านเมืองให้เที่ยงตรง หมายความว่า ไม่เห็นกับหน้าผู้ใด ยุติธรรม ปกครองประเทศให้ร่มเย็น ดับเข็ญนอกเข็ญใน คือ อะไรที่เป็นความลาบากทั้งภายในภายนอกให้ขจัดให้หมด
2. ส่งใจดูทุกกรม อย่าชมตามคาเท็จ คือให้สอดส่องการบริหารงานทั่งทุกหน่วยงาน อย่าเชื่อตามคาทูลเท็จของใคร ต้องให้เห็นกับตา อย่าทาให้ผิดทางธรรม ทาอะไรให้มันถูกต้อง
3. เวลาที่จะต้องใช้อานาจหรือพระเดชในการบัญชา ก็ต้องใช้ให้เหมาะสม จงทาให้มีเล่ห์เหลี่ยมที่เหมาะสม
4. ดูคนรับใช้ที่ให้มาทางานกับเราดีๆ สอดส่องดูให้เหมาะสม เลือกหาคนที่ซื่อสัตย์ พยายามปลุกใจคนให้ตื่นตัว ให้กล้าหาญกล้าต่อสู้กับศัตรูที่จะมากินเมือง ให้ตายไป ให้อานาจศักดิ์สิทธิ์แก่ราษฎร ตัดความชั่วอย่าให้มันลุกลาม
5. อย่าชิงสุกก่อนห่าม อย่าล่ามม้าสองฝั่ง จะทาอะไรก็อย่ารีบทาโดยไม่คิดเพราะก่อผลเสีย อย่าล่ามม้าสองปาก คืออย่ากดหัวพลเมืองให้โงหัวไม่ขึ้น อย่าใช้อานาจที่ไม่เป็นธรรมแก่ราษฎร อย่ารากผิดไว้ข้างหลัง คือ อะไรที่ผิดอย่าทิ้งไว้ข้างหลัง ให้จัดการให้เรียบร้อย แก้ไข อย่าทาตนให้คนเกลียด จงทาตนให้คนรัก
6. ชักชวนคนสู่ฟ้า คือนาคนให้ประพฤติแต่สิ่งที่ดีที่ชอบที่เหมาะที่ควร นาคนให้ไป ข้างหน้าให้มีความเจริญก้าวหน้า ให้เทวดาสรรเสริญเยินยอ คือนาประชาชนให้ทาดี ไปภพหน้าแม้แต่เทพเทวดาก็ยังต้องสรรเสริญเยินยอ ทาในส่งที่โลกยกย่อง
ลิลิตพระลอในด้านการปกครอง จะเห็นว่าการปกครองในสมัยนั้นต่างเมืองต่างเป็นอิสระ เป็นใหญ่ ไม่ขึ้นแก่กัน ลิลิตพระลอในด้านประวัติศาสตร์ ลิลิตพระลอได้ให้ความรู้ในทางประวัติศาสตร์ของไทยได้ ในแง่มุมต่าง ๆ โดยเฉพาะทาให้รู้เรื่องราวความเป็นมาของเมืองสรวงและเมืองสรองอันได้แก่ ลาปางและแพร่
ลิลิตพระลอในด้านวิถีชีวิต ได้มองเห็นถึงความเป็นอยู่ของคนไทยสมัยนั้นที่ยังเชื่อในเรื่อง
ไสยศาสตร์อยู่มากมีการนับถือผีสางนางไม้ แม้ในปัจจุบันก็ยังมีอยู่
วรรณคดีเพื่อยกย่องสดุดีพระมหากษัตริย์
วรรณคดีที่สดุดีวีรบุรุษส่วนใหญ่เป็นผลงานของกวีที่เป็นข้าราชบริพารในพระมหาราชวังหรือกวีศักดินา แต่งขึ้นเพื่อแสดงความชื่นชมในบุญบารมีของพระมหากษัตริย์ ยกย่องและสดุดีพระมหากษัตริย์เป็นประดุจเจ้าชีวิตหรือสมมุติเทพ แสดงความชื่นชมในความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เป็นการประกาศถึงเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ให้แพร่หลายในหมู่ประชาชนทั่วไปในขณะเดียวกันก็มีจุดมุ่งหมายทางการเมืองแอบแฝงอยู่ โดยส่วนรวมก็เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง ตามแนวปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
“ลิลิตยวนพ่าย” ลักษณะการแต่งเป็นลิลิตดั้น ประกอบด้วยร่าย 2 บท เป็นร่ายดั้น 1 บท ร่ายสุภาพ 1 บท สลับโคลงสี่ดั้น บาทกุญชร 296 บท ความมุ่งหมายในการแต่งเพื่อยอพระเกียรติกษัตริย์และสดุดีชัยชนะที่มีต่อโยนก เนื้อเรื่องกล่าวสรรเสริญและยอพระเกียรติกษัตริย์พระบรมไตรโลกนารถ เล่าพระราชประวัติตั้งแต่ประสูติการศึกษาสงคราม พระราชกรณียกิจทางศาสนา เช่น การออกผนวช 1 พรรษา การนิมนต์พระสงฆ์จากลังกา การตีชนะเมืองเชียงใหม่ และยอพระเกียรติพระบรมไตรโลกนาถอีกครั้ง
วรรณคดีเรื่องลิลิตยวนพ่าย ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่า ผู้แต่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทั้งในด้านภาษาและขนบธรรมเนียมราชการและคงเป็นกวีสาคัญในยุคนั้น ผู้แต่งได้อธิษฐานในโคลงที่ไพเราะเพราะพริ้งว่า
สารสยามภาคพร้อง กลกานท์ นี้ฤา
คือ คู่มาลาสรรค์ ช่อช้อย
เบญญาพิศาลแสดง เดอมเกียรติ พระฤา
คือ คู่ไหนแสร้งร้อย กึ่งกลาง
การกล่าวยอพระเกียรติกษัตริย์พระบรมไตรโลกนารถ ในโคลงที่ว่า
พระคุณพระคลองฟ้า ดินขาม
พระเกียรติพระไกรแผน ผ่านฟ้า
พระฤทธิ์พ่างพระราม รอนราพณ์ ไส้แฮ
พระก่อพระเกื้อหล้า หลากสรรค์
ลิลิตยวนพ่าย กล่าวได้ว่า เป็นวรรณคดียอพระเกียรติเรื่องแรกของไทยที่เพียบพร้อมไปด้วยความงามของฉันทลักษณ์ โคลงที่ไพเราะ ในด้านความรู้ ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประยุกต์ที่ผู้แต่งมุ่งให้ความรู้แก่ผู้อ่านโดยตรง เช่น ความรู้ด้านธรรมะ ด้านการรบ ด้านการปกครอง ด้านประวัติศาสตร์ เป็นต้น
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอนประชาชน
ในสมัยอยุธยาตอนกลางนี้มีโคลงอยู่สามเรื่องที่เป็นการสอนจริยธรรมให้กับสังคมไทย ซึ่งเป็นโคลงภาษิตที่มีหลักจริยธรรมเพื่อใช้สั่งสอน คือ
๑. โคลงพาลีสอนน้อง
๒. โคลงทศรถสอนพระราม
๓. โคลงราชสวัสดิ์
โคลงทั้งสามบทนี้เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จุดมุ่งหมายในการ
ทรงพระราชนิพนธ์ของพระองค์เพื่อสั่งสอนประชาชน หรือบุคคลใดก็ตามที่จะเข้ารับราชการในราชสานักของพระองค์ ให้ได้ทราบถึงหลักจริยธรรมที่ควรประพฤติปฏิบัติในการเป็นข้าราชการที่ดี แต่โคลงทศรถสอนพระรามนั้นเน้นเป็นพิเศษตรงที่ว่าเน้นเรื่องหลักในการครองเมือง เพราะท้าวทศรถสอนพระรามซึ่งเป็นลูกของพระองค์ให้ทรงทราบหลักในการครองเมือง, หลักของพระมหากษัตริย์
โคลงพาลีสอนน้อง
โคลงพาลีสอนน้อง ทานองแต่ง ใช้โคลงสี่สุภาพ มีโคลงทั้งหมด ๓๒ บท ความมุ่งหมาย เพื่อใช้เรื่องรามเกียรติ์เปรียบเทียบในการอบรมสั่งสอนข้าราชการ เช่น สอนการเข้าเฝ้าเมื่อรับราชการ การสอนไม่ให้ยักยอกของหลวง การสอนไม่ให้ทาชู้กับนางใน เป็นต้น
โคลงทศรถสอนพระราม
โคลงทศรถสอนพระราม ทานองแต่งเป็นโคลงสี่สุภาพมี ๑๒ บท ความมุ่งหมายในการแต่งเพื่อ เป็นพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่รัชทายาท และกล่าวถึงพระราชจริยวัตรของกษัตริย์ เช่น สอนให้มีความเมตตา ความยุติธรรม การให้ทาน การบาเหน็จความชอบ สอนไม่ให้เบียดเบียนราษฎร มีความอดทน
โคลงราชสวัสดิ์
โคลงราชสวัสดิ์ ทานองแต่ง เป็นโคลงสี่สุภาพ มีทั้งหมด ๖๓ บท ความมุ่งหมาย เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติตนของข้าราชการผู้ใหญ่ เช่น การสารวมกิริยามารยาท
วรรณคดีที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เป็นบทร้อยกรองประเภทเพลงยาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพยากรณ์สถานการณ์ของประเทศไทยในอนาคตว่าจะประสบวิบัติภัยนานา โดยคาดว่าประพันธ์ขึ้นราวสมัยรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนผู้ประพันธ์ยังไม่อาจระบุได้แน่ชัด
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยาแต่งขึ้นเลียนแบบมหาสุบินชาดก และนิทาน “พยาปัถเวน (ปเสนทิโกศล) ทานายฝัน” ชาดกและนิทานดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระสุบินนิมิตสิบหกประการของประการของพระเจ้าปเสนทิโกศลที่ได้ทูลถามคาพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า
ผู้แต่งจะต้องเป็นบุคคลที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง มีความสามารถในทางโหราศาสตร์หรือทางจิตวิทยาและเป็นนักประพันธ์นามาผนวกกับเรื่องราวของพุทธทานายดังกล่าวข้างต้น เพลงยาวกรุงศรีอยุธยา นี้ใช้เป็นจุดประสงค์ในทางการเมือง คือ เป็นการทานายชะตาบ้านเมืองไปในทางเลวร้ายถือเป็นเรื่องคอขาดบาดตายและเป็นการอัปมงคล ซึ่งหากเป็นการแต่งโดยบุคคลธรรมดาก็อาจจะถูกลงโทษสถานหนัก ดังนั้นผู้ที่สามารถทานายกล่าวอ้างออกมาได้และทาให้ผู้คนยอมรับและจดจากันได้นั้น ก็ย่อมต้องเป็นบุคคลที่มีความสาคัญระดับพระมหากษัตริย์ หรือบุคคลที่พระมหากษัตริย์ให้การยอมรับนับถือ
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอน
นันโทปนันทสูตรคาหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์
(เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคาประพันธ์เป็นร่ายยาว นาด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ
จุดมุ่งหมายของวรรณคดีเล่มนี้ ก็เพื่อเผยแผ่คาสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนาเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร
เรื่องย่อมีอยู่ว่า ครั้งนั้น พระพุทธองค์ทรงมีพุทธบัญชาให้พระมหาโมคคัลลานะเถระ ไปปราบพญานาค อันมีนาม นันโทปนันทะ ให้คลายทิฏฐิมานะลง เมื่อพญานันโทปนันทะคลายทิฏฐิมานะลง ได้แปลงร่างเป็นมาณพหนุ่ม ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าและได้รับศีล ๕ จากพระพุทธองค์ แต่ด้วยความที่ตนยังอยู่ในภูมิของกึ่งเทพกึ่งเดรัจฉาน จึงยังมิอาจยังให้เกิดการบรรลุธรรมได้ แต่ก็ยอมรับนับถือพระพุทธองค์ไปตลอดชีวิต แสดงให้เห็นสุภาษิตว่า ควรชนะคนไม่ดีด้วยความดี คือ เราควรสอนให้คนพาลกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดี มีดวงตาเห็นธรรม คือ อริยสัจ เข้าสู่ความหลุดพ้น สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้
วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนปลาย
วรรณคดีที่ใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม
พระมาลัยค้าหลวง เป็นวรรณคดีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ทรงพระนิพนธ์โดย
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ เมื่อปี พ.ศ. 2280 ทานองเช่นเดียวกับกาพย์มหาชาติ กล่าว คือ แต่งด้วยร่ายสุภาพ บางแห่งมีลักษณะคล้ายกาพย์ยานีปนอยู่บ้าง แต่เดิมนั้นพระมาลัยคาหลวงใช้สวดในงานมงคลสมรส ต่อมาเปลี่ยนไปใช้สวดเฉพาะงานศพหรือสวดหน้าศพ
พระมาลัยคาหลวง มีทานองแต่งคล้ายกาพย์มหาชาติ คือ จะมีการแทรกบทบาลีน้อยกว่านันโทปนันทสูตรคาหลวง ใช้ถ้อยคาสานวนง่าย ราบเรียบชัดเจนกว่านันโทปนันทสูตรคาหลวง เรื่องพระมาลัยเป็นที่ติดใจแพร่หลายมาช้านาน เช่น นาไปสวดในงานแต่งงานและงานศพ วาดภาพไว้ตามวัดและหล่อรูปพระมาลัยไว้ก็มี เนื้อเรื่องพระมาลัยดีเป็นที่นิยมกันแพร่หลาย ประกอบกับเชิงชั้นการบรรยายและใช้ถ้อยคาอันสูงส่งของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์หนังสือพระมาลัยคาหลวงจึงถือเป็นวรรณคดีขั้นมาตรฐานได้เรื่องหนึ่ง
วรรณคดีที่ใช้เพื่อการสั่งสอน
นันโทปนันทสูตรค้าหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคาประพันธ์เป็นร่ายยาว นาด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ
จุดมุ่งหมายของวรรณคดีเล่มนี้ ก็เพื่อเผยแผ่คาสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนาเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร
เรื่องย่อมีอยู่ว่า ครั้งนั้น พระพุทธองค์ทรงมีพุทธบัญชาให้พระมหาโมคคัลลานะเถระ ไปปราบพญานาค อันมีนาม นันโทปนันทะ ให้คลายทิฏฐิมานะลง เมื่อพญานันโทปนันทะคลายทิฏฐิมานะลง ได้แปลงร่างเป็นมาณพหนุ่ม ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าและได้รับศีล ๕ จากพระพุทธองค์ แต่ด้วยความที่ตนยังอยู่ในภูมิของกึ่งเทพกึ่งเดรัจฉาน จึงยังมิอาจยังให้เกิดการบรรลุธรรมได้ แต่ก็ยอมรับนับถือพระพุทธองค์ไปตลอดชีวิต แสดงให้เห็นสุภาษิตว่า ควรชนะคนไม่ดีด้วยความดี คือ เราควรสอนให้คนพาลกลับเนื้อกลับตัวเป็นคนดี มีดวงตาเห็นธรรม คือ อริยสัจ เข้าสู่ความหลุดพ้น สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้
วรรณคดีที่ใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม
กาพย์เห่เรือ เป็นคาประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สาหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทานองเห่ที่สอดคล้องกับจังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจาเรือแต่ละลา
กาพย์เห่เรือนั้น ใช้คาประพันธ์ 2 ชนิดด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมักขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไป จนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ ก็จะยกโคลงสี่สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป
กาพย์เห่เรือที่เก่าแก่ที่สุด ที่พบในเวลานี้ คือ กาพย์เห่เรือในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยอยุธยาตอนปลาย ทรงแต่งไว้ 2 เรื่อง คือบทเห่ชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก มีลักษณะเป็นเหมือนนิราศ กับอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องกากี สันนิษฐานกันว่ากาพย์เห่เรือ เดิมคงจะแต่งเพื่อขับเห่กันเมื่อเดินทางไกลในแม่น้าลาคลอง แต่ในภายหลังคงมีแต่เจ้านายหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง และสุดท้ายมีใช้แต่ในกระบวนเรือของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น กาพย์เห่เรือไม่นิยมประพันธ์กันมากนัก เนื่องจากถือเป็นคาประพันธ์สาหรับใช้ในพิธีการ คือ ในกระบวนเรือหลวง หรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค ไม่นิยมใช้ในพิธีหรือสถานการณ์อื่นใด การแต่งกาพย์เห่เรือจึงมักแต่งขึ้นสาหรับที่จะใช้เห่เรือจริงๆ ซึ่งในแต่ละรัชกาล มีการเห่เรือเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น

   วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น      

     วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น      ที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนพิธีกรรมและพระมหากษัตริย์ จึงมีเนื้อเรื่องคล้ายวรรณคดีสุโขทัยส่วนลักษณะการแต่งแตกต่างกับวรรณคดีสุโขทัยเป็นอย่างมาก วรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้นคำประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี่ สันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้นวรรณคดีที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้น

๑.ลิลิตโองการแช่งน้ำ

ผู้แต่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงค์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ประวัติ ต้นฉบับเดิมที่เหลืออยู่เขียนด้วยอักษรขอม ข้อความที่เพิ่มขึ้นในรัชกาลที่๔ ตามหลักฐานซึ่งรัชกาลที่ ๕ทรงยืนยันไว้ในพระราชพิธีสิบสองเดือน คือ “แทงพระแสงศรประลัยวาต” “แทงพระแสงศรอัคนิวาต” และ “แทงพระแสงศรพรหมมาสตร์”คำประพันธ์ที่ใช้คือโคลงห้าและร่ายโบราณ  

ทำนองแต่ง มีลักษณะเป็นลิลิต คือ มีร่ายกับโคลงสลับกัน ร่ายเป็นร่ายโบราณ ส่วนโคลงเป็นโคลงแบบโคลงห้าหรือมณฑกคติ ถ้อยคำ ถ้อยคำที่ใช้ส่วนมากเป็นคำไทยโบราณ นอกจากนั้นมีคำเขมร และบาลี สันสกฤต ปนอยู่ด้วย คำสันสกฤตมีมากกว่าคำบาลี

ความมุ่งหมาย ใช้อ่านในพิธีถือพระพิพัฒน์สัตยาหรือพิธีศรีสัจปานกาล ซึ่งกระทำตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทองสึบต่อกันมาจนเลิกไปเมื่อประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบบประชาธิปไตย ใน พ.ศ.๒๔๗๕

เรื่องย่อ เริ่มต้นด้วยร่ายดั้นโบราณ ๓ บท สรรเสริญพระนารายณ์ พระอิศวร  พระพรหมตามลำดับ ต่อจากนั้นบรรยายด้วยโคลงห้า และร่ายดั้นโบราณสลับกัน กล่าวถึงไฟไหม้โลกเมื่อสิ้นกัลป์แล้วพระพรหมสร้างโลกใหม่ เกิดมนุษย์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ การกำหนดวัน เดือน ปี และการเริ่มพระราชาธิบดีในหมู่คน แล้วอัญเชิญพระกรรมบดีปู่เจ้ามาร่วมเพื่อความศักดิ์สิทธิ์ ตอนต่อไปเป็นการอ้อนวอนให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เรืองอำนาจมี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เทพยาดา อสูร ภูตปีศาจ ตลอดจนสัตว์มีขี้เล็บเป็นพยาน ลงโทษผู้คิดคดกบฏต่อพระเจ้าแผ่นดิน ส่วนผู้ซื่อตรงภักดี ขอให้มีความสุขและลาภยศ ตอนจบเป็นร่ายยอพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดิน

๒.มหาชาติคำหลวง

ผู้แต่ง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

ประวัติ มหาชาติคำหลวงเป็นหนังสือมหาชาติฉบับภาษาไทย และเป็นประเภทคำหลวงเรื่องแรก เรื่องเกี่ยวกับผู้แต่งและปีที่ แต่งมหาชาติคำหลวง ปรากฏหลักฐานในเรื่องพงศาวดารฉบับคำหลวงกล่าวยืนยันปีที่แต่งไว้ตรงกับมหาชาติคำหลวงเดิมหายไป ๖ กัณฑ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระบรมราชโองการให้พระราชาคณะและนักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งซ่อมให้ครอบ ๑๓ กัณฑ์ เมื่อจุลศักราช ๑๑๗๖ พุทธศักราช ๒๓๔๗ ได้แก่ กัณฑ์ หิมพานต์ ทานกัณฑ์ จุลพน มัทรี สักกบรรพ และฉกษัตริย์

ทำนองแต่ง แต่งด้วยคำประพันธ์หลายอย่าง คือ โคลง ร่าง กาพย์ และฉันท์ มีภาษาบาลี แทรกตลอดเรื่องมหาชาติคำหลวงเรื่องนี้เป็นหนังสือประเภทคำหลวง

ความมุ่งหมาย เพื่อใช้อ่านหรือสวดในวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา และอาจเรียกรอยตามพระพุทธธรรมราชาลิไท ซึ่งพระราชนิพนธ์เรื่องไตรภูมิพระร่วง

เรื่องย่อ มหาชาติคำหลวง แปลว่าชาติใหญ่ ชาติสำคัญ เป็นหนังสือที่กล่าวถึงการบำเพ็ญทานอย่างยิ่งใหญ่ ของพระเวสสันดรโพธิสัตว์ เป็นการบำเพ็ญบารมีครบทั้ง ๑๐ บารมี และเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะมาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่กล่าวเป็นทานบารมีที่ยิ่งใหญ่ เพราะเป็นการบริจาคบุตรและภรรยา ซึ่งเป็นการยากหาผู้จะทำได้ พระองค์ทรงบริจาคทานทุกอย่างด้วยศรัทธาแรงกล้า มหาชาติคำหลวง ซึ่งได้กล่าวแล้วว่า ฉบับเดิมเป็นภาษามคธ แต่งเป็นปัฐยาวัตรฉันท์ มีจำนวน ๑,๐๐๐ บทด้วยกัน

๓.ลิลิตยวนพ่าย

ผู้แต่ง ไม่ปรากฏ

ประวัติ สันนิษฐานแต่งในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ.๒๐๑๗ ซึ่งเป็นปีเสด็จศึกเชียงชื่น แต่ความเห็นอีกประการหนึ่งว่า แต่งในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิปดีที่ ๒ (พ.ศ.๒๐๓๔ – ๒๐๗๒)

ทำนองแต่ง แต่งเป็นลิลิตดั้น ประกอบด้วยร่ายดั้นโคลงดั้นบาทกุญชร ร่ายดั้น ๒ บท และโคลงดั้นบทกุญชร ๓๖๕ บท

ความมุ่งหมาย เพื่อยอพระเกียรติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และสดุดีชัยชนะที่มีต่อเชียงใหม่ในรัชกาลนั้น

เรื่องย่อ ตอนต้นกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้าและนำหัวข้อธรรมมาแจกแจงทำนองยกย่องสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถว่า ทรงคุณธรรมข้อนั้น ๆ กล่าวถึงพระราชประวัติ ตั้งแต่ประสูติจนได้ราชสมบัติ ต่อมาเจ้าเมืองเชียงชื่น(เชลียง)เอาใจออกหาง นำทัพเชียงใหม่มาตีเมืองชัยนาท แต่ถูกสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถตีแตกกลับไป และยึดเมืองสุโขทัยคืนมาได้ แล้วประทับอยู่เมืองพิษณุโลก เสด็จออกบวชชั่วระยะหนึ่ง ต่อจากนั้นกล่าวถึงการทำสงครามกับเชียงใหม่อย่างละเอียดครั้งหนึ่ง แล้วบรรยายเหตุการณ์ทางเชียงใหม่ ว่าพระเจ้าติโลกราชเสียพระจริต ประหารชีวิตหนานบุญเรืองราชบุตร และหมื่นดังนครเจ้าเมืองเชียงชื่น ภรรยาหมื่นดังนครไม่พอใจ ลอยมีสารมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของสมเด็จสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและขอกองทัพไปช่วย พระเจ้าติโลกราชทรงยอทัพมาป้องกันเมืองเชียงชื่น เสร็จแล้วเสด็จกลับไปรักษาเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงกรีธาทัพหลวงขึ้นไปรบตีเชียงใหม่พ่ายไปได้เมือวเชียวชื่ม ตอนสุดท้ายสรรเสริญพระบารมีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอีกครั้งหนึ่ง

๔.ลิลิตพระลอ  

ผู้แต่ง  อาจเป็นรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พ.ศ.๒๐๑๗)หรือสมเด็จพระนารายณ์มหาราช(พ.ศ.๒๒๐๕)

ทำนองแต่ง เป็นคำประพันธ์ประเภทลิลิตสุภาพ ประกอบด้วยร่ายสุภาพและโคลงสุภาพเป็นส่วนใหญ่ บางโคลงมีลักษณะคล้ายโคลงดั้นและโคลงโบราณ และร่ายบางบทเป็นร่ายโบราณและร่ายดั้น

ความมุ่งหมาย แต่งถวายพระเจ้าแผ่นดิน เพื่อให้เป็นที่สำราญหฤทัย

เรื่องย่อ เมืองสรวงและเมืองสรองเป็นศัตรูกัน พระลอกษัตริย์เมืองสรวงทรงพระสิริโฉมยิ่งนัก จนเป็นที่ต้องพระทัยพระเพื่อนพระแพงราชธิดาของท้าวพิชัยพิษณุกรกษัตริย์แห่งเมืองสรอง นางรื่นนางโรยพระพี่เลี้ยงได้ขอให้ปูเจ้าสมิงพรายช่วยทำเสน่ห์ให้พระลอเสด็จมาเมืองสรวง เมื่อพระลอต้องเสน่ห์ได้ตรัสลาพระนางบุญเหลือพระราชมารดา และนางลักษณวดีมเหสี เสด็จไปเมืองสรองพร้อมกับนายแก้งนางขวัญพระพี่เลี้ยงพระลอทรงเสี่ยวน้ำที่แม่น้ำกาหลง ถึงแม้จะปรากฏรางร้ายก็ทรงผืนพระทัยเสด็จต่อไป ไก่ผีของปูเจ้าสมิงพรายล่อพระลอกับนายขวัญและนายแก้วไปจนถึงสวนหลวง นางรื่นนางโรยออกอุบายลอบนำพระลอกับนายแก้วและนายขวัญไปไว้ในตำหนักของพระเพื่อนพระแพง ท้าวพิชัยพิษณุกรทรงทราบเรื่องก็ทรงพระเมตตารับสั่งจะจัดการอภิเษกพระลอกับพระเพื่อนและพระแพงให้ แต่พระเจ้าย่าเลี้ยงของพระเพื่อนพระแพงยังทรงพยาบาลพระลอ อ้างรับสั่งท้าวพิชัยพิษณุกรตรัสสั่งใช้ให้ทหารไปรุมจับพระลอ พระเพื่อนพระอพงและพระพี่เลี้ยงทั้งสี่ช่วยกันต่อสู้จนสิ้นชีวิตทั้งหมดท้าวพิชัยพิษณุกรทรงพระพิโรธพระเจ้าย่าและทหาร รับสั่งให้ประหารชีวิตทุกคน พระนางบุญเหลือทรงส่งทูตมาร่วมงานพระศพกษัตริย์สาม ในที่สุดเมืองสรวงและเมืองสรองกัลเป็นไมตรีต่อกัน

๕.โคลงกำสรวล

ผู้แต่งศรีปราชญ์

ทำนองแต่ง แต่งด้วยโคลงตั้งบาทกุญชร บทแรกเป็นร่ายดั้น มีร่าย ๑ บท โคลงดั้น ๑๒๙ บท

ความมุ่งหมาย เพื่อแสดงความอาลัยคนรัก ซึ่งผู้แต่งต้องจากไป

เรื่องย่อ เริ่มด้วยร่ายสดุดีกรุงศรีอยุธยาว่ารุ่งเรืองงดงาม เป็นศูนย์กลางแห่งพุทธศาสนา ราษฎร์สมบูรณ์พูนสุข ต่อจากนั้นกล่าวถึงการที่ต้องจากนาง แสดงความห่วงใย ไม่แน่ใจว่าควรจะฝากนางไว้กับผู้ใดเดินทางผ่านตำบลหนึ่ง ๆ ก็รำพันเปรียบเทียบชื่อตำบลเข้ากับความอาลัยที่มีต่อนาง ตำลบที่ผ่าน เช่น บางกะจะ เกาะเรียน ด่านขนอน บางทรนาง บางขดาน ย่านขวาง ราชคราม ทุ่งพญาเมือง ละเท เชิงราก  นอกจากนี้ได้นำบุคคลในวรรณคดีมาเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ในชีวิตของตน เกิดความทุกข์ระทมที่ยังไม่พบได้นางอีกอย่างบุคคลในวรรณคดีเหล่านั้น โดยกล่าวถึง พระรามกับนางสีดา พระสูตรธนู(สุธนู)กับนางจิราประภา และพระสมุทรโฆษกกับนางพิษทุมดีว่าต่างได้อยู่ร่วมกันอีก ภายหลังที่ต้องจากกันชั่วเวลาหนึ่ง การพรรณนาสถานที่สิ้นสุดลงโดยที่ไม่ถึงนครศรีธรรมราช

๖.โคลงทวาทศมาส

ผู้แต่ง พระเยาวราช ขุนพรมมนตรี ขุนกวีราช ขุนสารประเสริฐ

ประวัติ หนังสือนี้มีการสันนิษฐานผู้แต่งต่างกันไป เช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่าผู้แต่ง คือ ขุนศรีกวีราช ขุนพรหมมนตรี และขุนสารประเสริฐ บางท่านว่า พระเยาวราช ทรงนิพนธ์ ที่เหลือช่วยแก้ไข ส่วนพระยาตรังคภูมิบาล และนายนรินทรธิเบศร กล่าวแต่เพียงสามคนร่วมกันแต่ง

ทำนองแต่ง โคลงดั้นวิริธมาลี

ความมุ่งหมาย มีผู้สันนิษฐานว่าคงแต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดิน มิได้จากนางจริงโดยสมมติเหตุการณ์ขึ้น

เรื่องย่อ โคลงเรื่องนี้ได้ชื่อว่าทวาทศมาส เพราะพรรณนาถึงความรักความอาลัยรัก และพิธีกรรมต่าง ๆ ในรอบสิบเดือน ทวาทศมาสแปลว่าสิบสองเดือน ตอนต้นสรรเสริญเทพเจ้า และพระเจ้าแผ่นดิน ชมความงามของนางที่ต้องจากมา กล่าวถึงบุคคลในวรรณคดี เช่น พระอนิรุทธ์ พระสมุทรโฆษ พระสุธนู พระสูตรธนู แล้วแสดงความน้อยใจที่ตนไม่อาจไปอยู่ร่วมกับนางอีกอย่างบุคคลเหล่านั้น ตอนต่อไปนำเหตุการณ์ต่าง ๆ และลมฟ้าอากาศในรอบปีหนึ่งๆ ตั้งแต่เดือน ๕ ถึง เดือน ๔ มาพรรณนา เดือนใดมีพิธีอะไรก็นำมากล่าวไว้ละเอียดละออ เช่น เดือนสิบเอ็ดมีพิธีอาศวยุช เดือนสิบสองมีพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป เดือนยี่ประกอบพิธีตรียัมปวาย และเดือนสี่กระทำพิธีตรุษ เป็นต้น ต่อจากนั้นถามข่าวคราวของนางจาก ปี เดือน วัน และยาม ขอพระเทพเจ้าให้ได้พบนาง ตอนสุดท้ายกล่าวสรรเสริญพระบารมีพระเจ้าแผ่นดิน

๗.โคลงหริภุญชัย

ผู้แต่ง สันนิษฐานทีผู้แต่งคนหนึ่ง อาจชื่อทิพแต่งไว้เป็นภาษาไทยเหนือ ต่อมามีผู้ถอดออกมาเป็นภาษาไทยกลางอีกตอนหนึ่ง

ประวัติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานไว้ว่าอาจเป็นประมาน พ.ศ.๒๑๘๐หรือก่อนหน้านั้นขึ้นไป ซึ่งเป็นระยะที่พระพุทธสิหิงค์ยังประดิษฐานอยู่ที่เชียงใหม่ราวศักราชสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และกวีทางใต้คงนำมาดัดแปลงราวศักราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร ได้ศึกษาโคลงเรื่องนี้โดยเทียบกับต้นฉบับภาษาไทยเหนือที่เชียงใหม่และลงความว่าจะแต่งขึ้นในสมัย พ.ศ.๒๐๖๐ ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระรามาธิปดีที่ ๒ ซึ่งเป็นเวลาที่พระแก้วมรกตยังอยู่ที่เจดีย์เชียงใหม่ เนื่องจากนิราศเรื่องกล่าวถึงพระแก้วมรกตไว้ด้วย

ทำนองแต่ง เดิมแต่งไว้เป็นโคลงไทยเหนือ ต่อมามีผู้ถอดเป็นโคลงสุภาพ

ความมุ่งหมาย ผู้แต่งมีความมุ่งหมายเพื่อบรรยายความรู้สึกที่ต้องจากหญิงรักไปนมัสการพระธาตุหริภุญชัย

เรื่องย่อ เริ่มบทบูชาพระรัตนตรัย บอกวันเวลาที่แต่ง แล้วกล่าวถึงการที่ต้องจากนางที่เชียงใหม่ไปบูชาพระธาตุหริภุญชัยที่เมืองหริภุญชัย (ลำพูน) ก่อนออกเดินทางได้นมัสการลาพระพุทธสิหิงค์ ขอพรพระมังราชหรือพระมังรายซึ่งสถิต ณ ศาลเทพารักษ์ นมัสการลาพระแก้วมรกต เมื่อเดินทางพบสิ่งใดหรือตำบลใดก็พรรณนาคร่ำครวญรำพันรักไปตลอดทางจนถึงเมืองหริภุญชัย ได้นมัสการพระธาตุสมความตั้งใจ บรรยายพระธาตุ งานสมโภชพระธาตุ ตอนสุดท้ายลาพระธาตุกลับเชียงใหม่

Hello world!

Welcome to WordPress.com! This is your very first post. Click the Edit link to modify or delete it, or start a new post. If you like, use this post to tell readers why you started this blog and what you plan to do with it.

Happy blogging!